ทบทวนส่วนที่น่าสนใจ
- การใช้หม้อความดันให้ดูคู่มือว่าเรากำลังทำความดันทำไหร่ ซึ่หม้อความดัน จะทำได้เพิ่มสูงถึง 1 บาร์ (ทำให้จุดเดือดเพิ่มไปจนถึง 121 c เทียบเท่า Sterilized)
- การคำนวนเวลาการใช้หม้อความดันมีสูตรค่อนข้างตายตัว โดยเราดูจากคู่มือได้ว่า หม้อเราได้ที่กี่บาร์ เช่น ถ้า 0 บาร์ใช้เวลา 100% ถ้า 0.4 บาร์ ใช้เหลือ 50% ถ้า 1.0 บาร์ จะเหลือ 25%
- การใช้หม้อความดัน จะแบ่งเป็นสำหรับเนื้อสัตว์ และผัก ต้องระวัง ถ้าใช้ระดับความดันสำหรับเนื้อสัตว์ไปใช้กับผักจะทำให้ผักเละเกินไป
- การใช้หม้อความดันให้ใส่น้ำไม่เกินเส้นไม่งั้นจะทำให้ล้น และไม่ควรใช้ของเหลวที่มีไขมันมากเกินไปจะทำให้พุ่งออกมาได้เช่นกะทิ
- ไม่ใครใส่แอลกอลฮอล์ในหม้อแรงดัน จะทำให้ระเบิดได้
- การลดความดันหม้อความดัน ให้ค่อยๆผ่อน
- การเตรียมซี่โครงก่อนต้มให้ดึงพังผืดออกก่อน
- Polenta มาจากข้าวโพดหักๆ
- การทำ Crumble ถ้าสัดส่วนน้ำตาลเยอะก็จะเกาะกัน ถ้าเนยเยอะก็จะแยกกันเพราะความชื้น
- Arancini คือ Resotto ชุดแป้งทอด
- Pacojet มีฟังชั่นการปั่นเพิ่มอากาศ และไม่เพิ่มแล้วแต่ชอบ
- การใช้ Nitrogen ทำไอศครีม เพิ่ม Xantan Gum หรือ CMC เล็กน้อยเพื่อให้ไอศครีมทนขึ้น
- ไนโตรเจนเหลวมีอุณหภูมิ -196c การใช้งานต้องระวัง
- น้ำแข็งแห้ง (CO2) อุณหภูมิ -79c เอาใส่กล่องโฟม แปลงเป็นตู้เย็นเคลื่อนที่ได้ ใช้เวลาแข่งทำอาหารได้ดี โดยน้ำแข็งแห้งจะเปลี่ยนจากของแข็งเป็นก๊าซ เรียกว่าระเหิด